วันอาทิตย์ที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2552
RDBMS
RDBMS เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการสร้างปรับปรุงและบริหารฐานข้อมูล โดย RDBMS ใช้คำสั่งของภาษา SQL ที่ป้อนโดยผู้ใช้หรือเก็บโปรแกรมประยุกต์ และสร้างปรับปรุงหรือการเข้าถึงฐานข้อมูล โปรแกรมประเภท RDBMS ที่รู้จักดีได้แก่ Microsoft Access, Oracle 7 และ CA-Open Ingres ของ Computer Associate
ข้อมูล GIS and spatial databases
ข้อมูลที่จัดเก็บในระบบ GIS
-การบริหารการปกครอง - เขตการปกครองต่าง ๆ
-ลักษณะภูมิประเทศ - ความสูง ความลาดเอียง ปริมาณน้ำฝน สถานีตรวจวัดอากาศ
-แหล่งน้ำ - แม่น้ำ อ่างเก็บน้ำ จุดเก็บน้ำ ตำแหน่ง/คุณภาพน้ำบาดาล
-ทรัพยากรแร่ธาตุและธรณีวิทยา - แหล่งแร่ ชนิดแร่ โครงสร้างทางธรณีวิทยา ของแหล่งน้ำใต้ดิน
-ทรัพยากรดิน - แผนที่ดิน ดินเค็ม ดินเปรี้ยว การจัดที่ดิน
-ทรัพยากรป่าไม้ - แผนที่ป่าไม้ต่าง ๆ
-การใช้ที่ดิน - การจำแนกการใช้ที่ดินประเภทต่าง ๆ ผังเมืองรวม ผังเมืองเฉพาะ แนวโน้มการใช้ที่ดินตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
- การบริการทางสังคม - Infrastructure ต่าง ๆ
ความสามารถของ GIS
-เก็บรักษา ปรับแก้ เพิ่มเติม ข้อมูลได้ทั้งในด้าน Graphics และฐานข้อมูล
-วิเคราะห์ผลด้วยระบบฐานข้อมูล โดยกำหนดเงื่อนไขและแสดงผลได้ทั้งภาพ Graphics แผนที่และรายงาน
-สามารถนำไปใช้ประกอบการตัดสินใจในการ แก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการวางแผนการใช้ทรัพยากรเชิงพื้นที่ได้
สถานภาพของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ในปัจจุบัน
-มีลักษณะเป็นระบบแยกเป็นอิสระตามหน่วยงานต่างๆ
-มีมาตรฐานที่หลากหลาย
-มีความซ้ำซ้อนทางด้านพื้นที่
-การสนธิข้อมูลเพื่อการใช้งานกระทำได้ยาก
-ข้อมูลไม่ทันสมัยกับสภาพความเป็นจริง
-มีค่าความถูกต้องที่คลาดเคลื่อน
-มีราคาแพง
-การบริหารการปกครอง - เขตการปกครองต่าง ๆ
-ลักษณะภูมิประเทศ - ความสูง ความลาดเอียง ปริมาณน้ำฝน สถานีตรวจวัดอากาศ
-แหล่งน้ำ - แม่น้ำ อ่างเก็บน้ำ จุดเก็บน้ำ ตำแหน่ง/คุณภาพน้ำบาดาล
-ทรัพยากรแร่ธาตุและธรณีวิทยา - แหล่งแร่ ชนิดแร่ โครงสร้างทางธรณีวิทยา ของแหล่งน้ำใต้ดิน
-ทรัพยากรดิน - แผนที่ดิน ดินเค็ม ดินเปรี้ยว การจัดที่ดิน
-ทรัพยากรป่าไม้ - แผนที่ป่าไม้ต่าง ๆ
-การใช้ที่ดิน - การจำแนกการใช้ที่ดินประเภทต่าง ๆ ผังเมืองรวม ผังเมืองเฉพาะ แนวโน้มการใช้ที่ดินตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
- การบริการทางสังคม - Infrastructure ต่าง ๆ
ความสามารถของ GIS
-เก็บรักษา ปรับแก้ เพิ่มเติม ข้อมูลได้ทั้งในด้าน Graphics และฐานข้อมูล
-วิเคราะห์ผลด้วยระบบฐานข้อมูล โดยกำหนดเงื่อนไขและแสดงผลได้ทั้งภาพ Graphics แผนที่และรายงาน
-สามารถนำไปใช้ประกอบการตัดสินใจในการ แก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการวางแผนการใช้ทรัพยากรเชิงพื้นที่ได้
สถานภาพของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ในปัจจุบัน
-มีลักษณะเป็นระบบแยกเป็นอิสระตามหน่วยงานต่างๆ
-มีมาตรฐานที่หลากหลาย
-มีความซ้ำซ้อนทางด้านพื้นที่
-การสนธิข้อมูลเพื่อการใช้งานกระทำได้ยาก
-ข้อมูลไม่ทันสมัยกับสภาพความเป็นจริง
-มีค่าความถูกต้องที่คลาดเคลื่อน
-มีราคาแพง
Think spatially
1.Spatial Distribution = การกระจายในเชิงพื้นที่- การที่พื้นที่ใด ณ พื้นที่หนึ่งที่มีทรัพยากรแล้วมีการเปลี่ยนแปลงสัดส่วนเป็นบริเวณกว้างในรูปแบบการกระจายตัวอย่างสม่ำเสมอในพื้นที่นั้น
2.Spatial Differentiation = ความแตกต่างในเชิงพื้นที่-ในพื้นที่แต่ละพื้นที่หนึ่งจะมีลักษณะเฉพาะทางกายภาพและชีวภาพไม่เหมือนกันและพื้นที่นั้นยังมีทรัพยากรที่มีความหลากหลายต่างกันตามลักษณะของพื้นที่
3.Spatial Diffusion = การแพร่กระจายในเชิงพื้นที่อย่างมีรู้จุดเริ่มต้น -พื้นที่หนึ่งที่มีการกระจายตัวทางทรัพยากรหรือการเผยแพร่วัฒนธรรมไปสู่บริเวณพื้นที่อื่น
4.Spatial Interaction = การปฎิสัมพันธ์ในเชิงพื้นที่-พื้นที่ที่มีการกระทำ โต้ตอบหรือทำกิจกรรมระหว่างกันในบริเวณพื้นที่เดียวกันหรือต่างพื้นที่กัน เช่น หอพักมีปฎิสัมพันธ์กับมหาวิทยาลัย
5.Spatial Temporal = ช่วงเวลาและสถานที่ในเชิงพื้นที่จะต้องเกี่ยวข้องกันเสมอ
2.Spatial Differentiation = ความแตกต่างในเชิงพื้นที่-ในพื้นที่แต่ละพื้นที่หนึ่งจะมีลักษณะเฉพาะทางกายภาพและชีวภาพไม่เหมือนกันและพื้นที่นั้นยังมีทรัพยากรที่มีความหลากหลายต่างกันตามลักษณะของพื้นที่
3.Spatial Diffusion = การแพร่กระจายในเชิงพื้นที่อย่างมีรู้จุดเริ่มต้น -พื้นที่หนึ่งที่มีการกระจายตัวทางทรัพยากรหรือการเผยแพร่วัฒนธรรมไปสู่บริเวณพื้นที่อื่น
4.Spatial Interaction = การปฎิสัมพันธ์ในเชิงพื้นที่-พื้นที่ที่มีการกระทำ โต้ตอบหรือทำกิจกรรมระหว่างกันในบริเวณพื้นที่เดียวกันหรือต่างพื้นที่กัน เช่น หอพักมีปฎิสัมพันธ์กับมหาวิทยาลัย
5.Spatial Temporal = ช่วงเวลาและสถานที่ในเชิงพื้นที่จะต้องเกี่ยวข้องกันเสมอ
วันศุกร์ที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2552
2.2.5 DBMA มีระบบควบคุมการใช้ข้อมูลร่วมกันในช่วงเวลาเดียวกัน (Concurrency Control)
DBMS มีระบบควบคุมการใช้ข้อมูลร่วมกันในช่วงเวลาเดียวกัน ซึ่งมีอยู่หลายวิธี เช่น lock-based protocols เป็นต้น สำหรับขนาดของ data item ที่จะถูกล็อกมีตั้งแต่ DB space, page, table, row และ column สำหรับ item ที่ถูกล็อกถ้าเป็น item ยิ่งเล็กจะได้ throughput สูง แต่จัดการยาก และใช้ทรัพยากรมาก โดยปกติ DBMS ที่มีคุณภาพดีจะล็อก unit ที่เล็กก่อนอันได้แก่ column แล้วตรวจสอบว่า row มี conflict หรือไม่ ถ้าไม่มีก็จะล็อก row แล้วทำต่อไปถึง table ถ้าใช้ระบบคนเดียวก็อาจจะไม่ต้องล็อกเลย
Concurrency Control Techniques
เมื่อเกิดภาวะพร้อมกันในระบบ DBMS จะมีเทคนิคในการจัดเรียงลำดับการทำงานของแต่ละ Transaction
แบ่งออกเป็น 2 ประเภทหลักคือ
การควบคุมภาวะพร้อมกันด้วยการล็อก (Locking)
การควบคุมภาวะพร้อมกันโดยไม่ใช้วิธีการล็อก (Without Locking)
http://www.google.co.th/search?q=concurrency+control&hl=th&lr=lang_th&ei=WHY6SoSKFajk6gObwvDxAw&sa=X&oi=lrtip&ct=restrict&cad=8
แบ่งออกเป็น 2 ประเภทหลักคือ
การควบคุมภาวะพร้อมกันด้วยการล็อก (Locking)
การควบคุมภาวะพร้อมกันโดยไม่ใช้วิธีการล็อก (Without Locking)
http://www.google.co.th/search?q=concurrency+control&hl=th&lr=lang_th&ei=WHY6SoSKFajk6gObwvDxAw&sa=X&oi=lrtip&ct=restrict&cad=8
วันพฤหัสบดีที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2552
ระบบจัดการฐานข้อมูล (DBMs)
เป็น Software ที่ดูแลจัดการเกี่ยวกับฐานข้อมูล โดยอำนวยความสะดวกแก่ผู้ใช้ในด้านการสร้าง การปรับปรุงแก้ไข ซึ่งที่นิยมใช้อยู่กันในปัจจุบัน ได้แก่ ORACLE , SYSBASE , INFOMIX หรือ SQL เป็นต้น
วันอาทิตย์ที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2552
ความเป็นอิสระของข้อมูล (Data Independence)
ความเป็นอิสระของข้อมูล (Data Independence)
แบ่งออกได้เป็น 2 ชนิดคือ
ความเป็นอิสระของข้อมูลในเชิงกายภาพ (Physical Data Independence) คือ การเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างในระดับภายใน จะไม่กระทบต่อโครงสร้างในระดับแนวคิด และระดับภายนอก เช่น การเปลี่ยนวิธีการเรียกใช้ข้อมูลจากเดิมให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น จะไม่กระทบต่อระดับแนวคิดหรือระดับผู้ใช้
ความเป็นอิสระของข้อมูลในเชิงตรรก (Logical Data Independence) คือ การเปลี่ยนแปลงข้อมูลในระดับแนวคิด จะไม่กระทบต่อโครงสร้างในระดับภายนอก เช่น การเพิ่ม ฟิลด์ หรือ ตารางใหม่เข้าไปในฐานข้อมูล
แบ่งออกได้เป็น 2 ชนิดคือ
ความเป็นอิสระของข้อมูลในเชิงกายภาพ (Physical Data Independence) คือ การเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างในระดับภายใน จะไม่กระทบต่อโครงสร้างในระดับแนวคิด และระดับภายนอก เช่น การเปลี่ยนวิธีการเรียกใช้ข้อมูลจากเดิมให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น จะไม่กระทบต่อระดับแนวคิดหรือระดับผู้ใช้
ความเป็นอิสระของข้อมูลในเชิงตรรก (Logical Data Independence) คือ การเปลี่ยนแปลงข้อมูลในระดับแนวคิด จะไม่กระทบต่อโครงสร้างในระดับภายนอก เช่น การเพิ่ม ฟิลด์ หรือ ตารางใหม่เข้าไปในฐานข้อมูล
วันอังคารที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2552
Geography information
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์(Geographic Information System : GIS)
ความหมายของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ หมายถึง ซอฟต์แวร์ทางด้านกราฟฟิกที่มีความสามารถ ในการเก็บ ข้อมูลด้านแผนที่หรือข้อมูลในลักษณะที่เป็นภาพต่างๆ เช่น ภาพดาวเทียม (Satellite images) ภาพถ่ายทางอากาศ (Arial photographs) เป็นต้น ซึ่งซอฟต์แวร์ดังกล่าว นี้สามารถนำ เข้าข้อมูลแผนที่หรือข้อมูลภาพต่างๆของพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งซึ่งข้อมูลแต่ละด้านจะ ถูกจัดเก็บไว้ใน โปรแกรมในลักษณะของข้อมูลเฉพาะเรื่อง (Layer) หรือการซ้อนทับข้อมูล (Overlays) หรือชั้นข้อมูล (Coverages) แล้วสามารถนำเอาข้อมูลเหล่านี้มาวิเคราะห์ประมวลผลร่วมกัน เพื่อหาคำตอบเกี่ยวกับข้อมูลในพื้นที่ (พิภพ อิศรางกูร ณ อยุธยา. 2540 อ้างตาม วีรวัฒน์ ธิติสวรรค์. 2544)
http://images.google.co.th/imgres?imgurl=http://http-server.carleton.ca/~dking/images/course_3.jpg&imgrefurl=http://http-server.carleton.ca/~dking/courses.htm&usg=__5jVPHzG52Ij5pzC2rwimR3FcxhY=&h=426&w=297&sz=24&hl=th&start=60&um=1&tbnid=nqaE9Lvd10x3wM:&tbnh=126&tbnw=88&prev=/images%3Fq%3DGeography%2Binformation%26ndsp%3D20%26hl%3Dth%26lr%3Dlang_th%26sa%3DN%26start%3D40%26um%3D1
ระบบการจัดการฐานข้อมูล (data base management system, DBMS)
หน้าที่ของระบบการจัดการฐานข้อมูล
1.ระบบจัดการฐานข้อมูลเป็นซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่ดังต่อไปนี้ ดูแลการใช้งานให้กับผู้ใช้
ในการติดต่อกับตัวจัดการระบบแฟ้มข้อมูลได้ ในระบบฐานข้อมูลนี้ข้อมูลจะมีขนาดใหญ่ ซึ่งจะถูกจัดเก็บไว้ในหน่วยความจำสำรองเมื่อผู้ใช้ต้องการจะใช้ฐานข้อมูล ระบบการจัดการฐานข้อมูลจะทำหน้าที่ติดต่อกับระบบแฟ้มข้อมูลซึ่งเสมือนเป็นผู้จัดการแฟ้มข้อมูล (file manager) นำข้อมูลจากหน่วยความจำสำรองเข้าสู่หน่วยความจำหลักเฉพาะส่วนที่ต้องการใช้งาน และทำหน้าที่ประสานกับตัวจัดการระบบแฟ้มข้อมูลในการจัดเก็บ เรียกใช้ และแก้ไขข้อมูล
2. ควบคุมระบบความปลอดภัยของข้อมูลโดยป้องกันไม่ให้ผู้ที่ไม่ได้รับอนุญาตเข้ามาเรียกใช้หรือแก้ไขข้อมูลในส่วนป้องกันเอาไว้ พร้อมทั้งสร้างฟังก์ชันในการจัดทำข้อมูลสำรอง โดยเมื่อเกิดมีความขัดข้องของระบบแฟ้มข้อมูลหรือของเครื่องคอมพิวเตอร์เกิดการเสียหายนั้น ฟังก์ชันนี้จะสามารถทำการฟื้นสภาพของระบบข้อมูลกลับเข้าสู่สภาพที่ถูกต้องสมบูรณ์ได้
3. ควบคุมการใช้ข้อมูลในสภาพที่มีผู้ใช้พร้อม ๆ กันหลายคน โดยจัดการเมื่อมีข้อผิดพลาดของข้อมูลเกิดขึ้น
http://sot.swu.ac.th/cp342/lesson01/ms2t2.htm
1.ระบบจัดการฐานข้อมูลเป็นซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่ดังต่อไปนี้ ดูแลการใช้งานให้กับผู้ใช้
ในการติดต่อกับตัวจัดการระบบแฟ้มข้อมูลได้ ในระบบฐานข้อมูลนี้ข้อมูลจะมีขนาดใหญ่ ซึ่งจะถูกจัดเก็บไว้ในหน่วยความจำสำรองเมื่อผู้ใช้ต้องการจะใช้ฐานข้อมูล ระบบการจัดการฐานข้อมูลจะทำหน้าที่ติดต่อกับระบบแฟ้มข้อมูลซึ่งเสมือนเป็นผู้จัดการแฟ้มข้อมูล (file manager) นำข้อมูลจากหน่วยความจำสำรองเข้าสู่หน่วยความจำหลักเฉพาะส่วนที่ต้องการใช้งาน และทำหน้าที่ประสานกับตัวจัดการระบบแฟ้มข้อมูลในการจัดเก็บ เรียกใช้ และแก้ไขข้อมูล
2. ควบคุมระบบความปลอดภัยของข้อมูลโดยป้องกันไม่ให้ผู้ที่ไม่ได้รับอนุญาตเข้ามาเรียกใช้หรือแก้ไขข้อมูลในส่วนป้องกันเอาไว้ พร้อมทั้งสร้างฟังก์ชันในการจัดทำข้อมูลสำรอง โดยเมื่อเกิดมีความขัดข้องของระบบแฟ้มข้อมูลหรือของเครื่องคอมพิวเตอร์เกิดการเสียหายนั้น ฟังก์ชันนี้จะสามารถทำการฟื้นสภาพของระบบข้อมูลกลับเข้าสู่สภาพที่ถูกต้องสมบูรณ์ได้
3. ควบคุมการใช้ข้อมูลในสภาพที่มีผู้ใช้พร้อม ๆ กันหลายคน โดยจัดการเมื่อมีข้อผิดพลาดของข้อมูลเกิดขึ้น
http://sot.swu.ac.th/cp342/lesson01/ms2t2.htm
วันเสาร์ที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2552
ความหมายของคำว่า "ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ( Geographic Information System ) GIS"
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ หรือ Geographic Information System : GIS คือกระบวนการทำงานเกี่ยวกับข้อมูลในเชิงพื้นที่ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ที่ใช้กำหนดข้อมูลและสารสนเทศ ที่มีความสัมพันธ์กับตำแหน่งในเชิงพื้นที่ เช่น ที่อยู่ บ้านเลขที่ สัมพันธ์กับตำแหน่งในแผนที่ ตำแหน่ง เส้นรุ้ง เส้นแวง ข้อมูลและแผนที่ใน GIS เป็นระบบข้อมูลสารสนเทศที่อยู่ในรูปของตารางข้อมูล และฐานข้อมูลที่มีส่วนสัมพันธ์กับข้อมูลเชิงพื้นที่ (Spatial Data) ซึ่งรูปแบบและความสัมพันธ์ของข้อมูลเชิงพื้นที่ทั้งหลาย จะสามารถนำมาวิเคราะห์ด้วย GIS และทำให้สื่อความหมายในเรื่องการเปลี่ยนแปลงที่สัมพันธ์กับเวลาได้ เช่น การแพร่ขยายของโรคระบาด การเคลื่อนย้าย ถิ่นฐาน การบุกรุกทำลาย การเปลี่ยนแปลงของการใช้พื้นที่ ฯลฯ ข้อมูลเหล่านี้ เมื่อปรากฏบนแผนที่ทำให้สามารถแปลและสื่อความหมาย ใช้งานได้ง่าย
สารสนเทศภูมิศาสตร์
หมายถึง การทำงานเกี่ยวกับข้อมูลเชิงพื้นที่ด้วย ระบบคอมพิวเตอร์ ที่ใช้กำหนดข้อมูลและสารสนเทศ ที่มีความสัมพันธ์กับตำแหน่งในเชิงพื้นที่ หรือจะกล่าวอย่างง่ายๆก็ได้ว่าเป็นการจัดการฐานข้อมูลเชิงพื้นที่
วันศุกร์ที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2552
ความแตกต่างของข้อมูลและสารสนเทศ
ความแตกต่างของข้อมูลและสารสนเทศ ก็คือ ข้อมูลเป็นข้อเท็จจริงที่ยังไม่ได้ประมวลผลและยังนำไปใช้ไม่ได้ ส่วนสารสนเทศก็คือข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลโดยวิธีกรต่างๆ เช่นการนำมาจัดเรียง การผ่านสูตรคณิตศาสตร์หรือวิทยาศาสตร์ การหาผลเฉลี่ย เป็นต้น แล้วและสามารถนำไปใช้ในประโยชน์ได้นั้นเอง
http://gotoknow.org/blog/sasipong/30341
ความแตกต่างของข้อมูล และสารสนเทศ คือ ข้อมูลเป็นส่วนที่จะมาก่อนสารสนเทศ หรือเป็นต้นกำหนดของสารสนเทศ ส่วนสารสนเทศ จะเกิดจากการนำข้อมูลที่ได้รวบรวมจากแหล่งข้อมูล ทั้งภายในและภายนอกองค์กร ผ่านขั้นตอน หรือกระบวนการในการประมวลผลข้อมูล เพื่อให้ได้สารสนเทศ เพื่อนำมาใช้ประกอบการตัดสินใจได้
http://www.lcc.ac.th/WEB_T/noi/Templates/Untitled-333.htm
http://gotoknow.org/blog/sasipong/30341
ความแตกต่างของข้อมูล และสารสนเทศ คือ ข้อมูลเป็นส่วนที่จะมาก่อนสารสนเทศ หรือเป็นต้นกำหนดของสารสนเทศ ส่วนสารสนเทศ จะเกิดจากการนำข้อมูลที่ได้รวบรวมจากแหล่งข้อมูล ทั้งภายในและภายนอกองค์กร ผ่านขั้นตอน หรือกระบวนการในการประมวลผลข้อมูล เพื่อให้ได้สารสนเทศ เพื่อนำมาใช้ประกอบการตัดสินใจได้
http://www.lcc.ac.th/WEB_T/noi/Templates/Untitled-333.htm
ความหมายของข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูล (DATA)
หมายถึง ข้อเท็จจริงหรือเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับบุคคล วัตถุหรือสถานที่ ซึ่งข้อมูลอาจจะได้มาจากการสังเกต การเก็บรวบรวม การวัด ข้อมูลเป็นได้ทั้งข้อความ ตัวเลข ที่สำคัญจะต้องมีความเป็นจริงและต่อเนื่อง ตัวอย่างข้อมูล เช่น คะแนนสอบ ชื่อนักเรียน เพศ เป็นต้น
สารสนเทศ (INFORMATION)
หมายถึง ข้อเท็จจริงหรือเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับบุคคล วัตถุหรือสถานที่ ซึ่งข้อมูลอาจจะได้มาจากการสังเกต การเก็บรวบรวม การวัด ข้อมูลเป็นได้ทั้งข้อความ ตัวเลข ที่สำคัญจะต้องมีความเป็นจริงและต่อเนื่อง ตัวอย่างข้อมูล เช่น คะแนนสอบ ชื่อนักเรียน เพศ เป็นต้น
สารสนเทศ (INFORMATION)
หมายถึง ผลลัพธ์ของข้อมูลที่ผ่านการประมวลผล ซึ่งสามารถนำไปใช้ประโยชน์ต่อไปได้ ตัวอย่างของสารสนเทศ เช่น การนำคะแนนสอบมาตัดเกรด เกรดที่ได้คือสารสนเทศ ซึ่งสามารถนำไปช่วยในการตัดสินบางสิ่งบางอย่างได้ เป็นต้น สารสนเทศที่ดีจะต้องเกิดจากข้อมูลที่ดีเช่นกัน
คุณสมบัติของข้อมูลที่ดี
1. มีความถูกต้อง เพราะข้อมูลที่ได้ต้องนำไปใช้ในการตัดสินใจ
2. มีความเที่ยงตรง แม่นยำ เชื่อถือได้
3. มีความเป็นปัจจุบัน ตรงตามความต้องการของผู้ใช
4. มีหลักฐานอ้างอิง เชื่อถือและตรวจสอบได้ถึงแหล่งที่มา
5. มีความสมบูรณ์ชัดเจน เพื่อสำรวจได้อย่างทั่วถึง
การประมวลผลข้อมูลไปสู่สารสนเทศ
การประมวลผลข้อมูลไปสู่สารสนเทศ
ก่อนจะนำข้อมูลไปใช้จะต้องดำเนินการกับข้อมูลนั้นเสียก่อนดังนี้
1. การรวบรวมข้อมูล
2. การประมวลผล
3. การดูแลรักษาสารสนเทศที่ได้
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)