ตอบข้อ h
“ให้เลือกแสดงฟิลด์รหัสนิสิต ชื่อนิสิต อาจารย์ที่ปรึกษา ชั้น และงานอดิเรก จากตารางนักเรียน โดยมีเงื่อนไขคืองานอดิเรก อ่านหนังสือ”
ตอบข้อ i
SELECT* FROM Subject
ตอบแค่สองข้อก่อนคะ
วันอังคารที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2552
วันศุกร์ที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2552
SQL Query
หัวข้อสรุป SQL Query ครอบคลุมรายละเอียดการสร้างประโยคคำสั่ง SELECT ในการประยุกต์ต่างๆ ประโยคคำสั่ง SELECT เป็นแกนการทำงานของภาษา SQL และเหมือนกับคำสั่ง SQL ส่วนใหญ่ ประโยคคำสั่ง SELECT มีตัวเลือกในการเขียนคำสั่ง ซึ่งมีประโยชน์มากเมื่อนำตัวเลือกต่างในการสร้าง SQL query ( ด้วยประโยคคำสั่ง SELECT) รวมทั้งสามารถสร้างชุดคำสั่งได้มีประสิทธิภาพ หรือมากกว่า
1. SELECT Statement
ประโยคคำสั่ง SELECT ได้รับการนำไปใช้ในการค้นหาข้อมูลในฐานข้อมูล และดึงข้อมูลที่เลือกตรงตามเกณฑ์ที่กำหนด
ประโยคคำสั่ง SELECT มี 5 clause ให้เลือกใช้ แต่มีเฉพาะ FROM เป็น clause บังคับ แต่ละ clause มีตัวเลือก พารามิเตอร์ เป็นต้น ให้เลือก
ไวยากรณ์
ประโยคคำสั่ง SELECT
SELECT [ALL | DISTINCT] column1[,column2]
FROM table1[,table2]
[WHERE conditions ]
[GROUP BY column-list ]
[HAVING conditions ]
[ORDER BY column-list [ASC | DESC] ];
[ ] ตัวเลือก
ตัวอย่าง
SELECT name, age, salary
FROM employee
WHERE age > 50;
ประโยคคำสั่งนี้จะเลือกค่าทั้งหมดในคอลัมน์ name, age และ salary จาก table “employee ที่ age มีค่ามากกว่า 50
NOTE: ต้องมีเครื่องหมาย semicolon(;) ปิดท้ายประโยค เพื่อชี้ว่าประโยคคำสั่ง SQL จบสมบูรณ์และพร้อมที่จะแปล
2. GROUP BY
ไวยากรณ์
GROUP BY clause
SELECT column1, SUM(column2 )
FROM list-of-tables
GROUP BY column-list ;
GROUP BY clause ใช้หาผลรวมของคอลัมน์จากแถวในคอลัมน์ที่ระบุ และทำงานร่วมกับ aggregate function ที่ทำงานกับคอลัมน์ 1 คอลัมน์หรือมากกว่า เพื่อหาผลรวมของกลุ่มของแถวข้อมูล
SELECT max(salary), dept
FROM employee
GROUP BY dept;
ประโยคคำสั่งนี้จะเลือกค่า salary มากที่สุด ในแต่ละฝ่าย
ตัวอย่าง
การจัดกลุ่มภายในคอลัมน์ เช่น table ‘item_order’ มีคอลัมน์ quantity ที่เก็บค่า 1, 2, 3 และอื่นๆ โดยต้องการหาค่าราคาสูงสุดของละค่าใน quantity สามารถเขียนคำสั่งได้ดังนี้
SELECT quantity, max(price)
FROM items_ordered
GROUP BY quantity;
http://www.widebase.net/database/sql/sqlquery/sqlquery02.shtml
1. SELECT Statement
ประโยคคำสั่ง SELECT ได้รับการนำไปใช้ในการค้นหาข้อมูลในฐานข้อมูล และดึงข้อมูลที่เลือกตรงตามเกณฑ์ที่กำหนด
ประโยคคำสั่ง SELECT มี 5 clause ให้เลือกใช้ แต่มีเฉพาะ FROM เป็น clause บังคับ แต่ละ clause มีตัวเลือก พารามิเตอร์ เป็นต้น ให้เลือก
ไวยากรณ์
ประโยคคำสั่ง SELECT
SELECT [ALL | DISTINCT] column1[,column2]
FROM table1[,table2]
[WHERE conditions ]
[GROUP BY column-list ]
[HAVING conditions ]
[ORDER BY column-list [ASC | DESC] ];
[ ] ตัวเลือก
ตัวอย่าง
SELECT name, age, salary
FROM employee
WHERE age > 50;
ประโยคคำสั่งนี้จะเลือกค่าทั้งหมดในคอลัมน์ name, age และ salary จาก table “employee ที่ age มีค่ามากกว่า 50
NOTE: ต้องมีเครื่องหมาย semicolon(;) ปิดท้ายประโยค เพื่อชี้ว่าประโยคคำสั่ง SQL จบสมบูรณ์และพร้อมที่จะแปล
2. GROUP BY
ไวยากรณ์
GROUP BY clause
SELECT column1, SUM(column2 )
FROM list-of-tables
GROUP BY column-list ;
GROUP BY clause ใช้หาผลรวมของคอลัมน์จากแถวในคอลัมน์ที่ระบุ และทำงานร่วมกับ aggregate function ที่ทำงานกับคอลัมน์ 1 คอลัมน์หรือมากกว่า เพื่อหาผลรวมของกลุ่มของแถวข้อมูล
SELECT max(salary), dept
FROM employee
GROUP BY dept;
ประโยคคำสั่งนี้จะเลือกค่า salary มากที่สุด ในแต่ละฝ่าย
ตัวอย่าง
การจัดกลุ่มภายในคอลัมน์ เช่น table ‘item_order’ มีคอลัมน์ quantity ที่เก็บค่า 1, 2, 3 และอื่นๆ โดยต้องการหาค่าราคาสูงสุดของละค่าใน quantity สามารถเขียนคำสั่งได้ดังนี้
SELECT quantity, max(price)
FROM items_ordered
GROUP BY quantity;
http://www.widebase.net/database/sql/sqlquery/sqlquery02.shtml
SQL Basic
SQL เป็นภาษามาตรฐานสำหรับฐานข้อมูล Relational Database Management System (RDBMS) ตามมาตรฐานของ ANSI (American National Standard Institute) ในส่วนนี้กล่าวถึงคำสั่งต่างๆตามพื้นฐาน และสามารถดูการประยุกต์ที่ซับซ้อนมากขึ้นได้ โดยคำสั่ง QUERY ดูเพิ่มจาก SQL Query
1. SQL
SQL (ออกเสียงว่า "ess-que-el" หรือ "ซี-เคลว") ย่อมาจาก Structured Query Language เป็นภาษามาตรฐานที่ใช้ในการติดต่อกับฐานข้อมูล คิดค้นโดยนักวิทยาศาสตร์ของ IBM ในทศวรรษ 1970 ในปัจจุบัน ANSI (American National Standard Institute) ได้ประกาศให้ SQL ภาษามาตรฐานสำหรับระบบจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database Management System ย่อเป็น RDBMS) คำสั่งของ SQL ทำงานต่างของฐานข้อมูล เช่น การปรับปรุงข้อมูล การดึงข้อมูลเพื่อแสดงผลที่ต้องการ
2. Relational Database
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database) เป็นโครงสร้างฐานข้อมูลที่สามารถกำหนดความสัมพันธ์ขึ้นเมื่อใดก็ได ้โดยไม่จำเป็นต้องกำหนดไว้ตั้งแต่เริ่มต้นออกแบบฐานข้อมูล และเปลี่ยนโครงสร้างได้ง่าย ฐานข้อมูลเก็บข้อมูลและสารสนเทศในอ๊อบเจค เรียกว่า Table
Table ประกอบด้วย คอลัมน์ (Column) และแถวข้อมูล (Row) โดยคอลัมน์ประกอบด้วย ชื่อคอลัมน์ ประเภทข้อมูล และคุณสมบัติอื่นๆ (เช่น การกำหนดเป็น primary key, ค่าเริ่มต้น) แถวเก็บข้อมูลของคอลัมน์
3. การเลือกข้อมูล
SELECTION statement ใช้ในการสร้างคิวรี่ หรือการสอบถามกับฐานข้อมูล และเลือกดึงข้อมูลที่ตรงกับเกณฑ์ที่กำหนด
ไวยากรณ์
SELECT column1 [, column2…]
FROM tablename
[WHERE condition ];
[ ] ตัวเลือก
4. การสร้าง Table
CREATE TABLE statement ใช้ในการสร้าง Table ขึ้นมาใหม่
ไวยากรณ์1
รูปแบบการสร้าง Table อย่างง่าย
CREATE TABLE tablename
(column1 datatype,
column2 datatype,
column3 datatype, …);
ไวยากรณ์ 2
รูปแบบการสร้าง Table ที่มีข้อกำหนด หรือ constraint
CREATE TABLE tablename
(column1 datatype [constraint],
column2 datatype [constraint],
column3 datatype [constraint],…);
[ ] ตัวเลือก
5. การกำหนด Key
Key เป็นข้อกำหนดคุณสมบัติของคอลัมน์ใน Table ซึ่งทำหน้าที่เป็น index เพื่อเพิ่มความเร็วในการค้นหาข้อมูล และใช้กำหนดความสัมพันธ์ระหว่าง Table
Primary key สร้างจากคอลัมน์ (หรือประกอบด้วยหลายคอลัมน์) ที่มีค่าของคอลัมน์ในทุกแถวข้อมูลมีค่าไม่ซ้ำกัน เป็นการควบคุมค่าที่เก็บในคอลัมน์ และใช้ในการเชื่อมโยงกับ Table อื่น ในแต่ละ Table กำหนด primary key ได้ 1 key
Foreign key เป็นคอลัมน์ใน Table ที่ primary key อยู่ที่ Table อื่น หมายถึงว่า ค่าของคอลัมน์ทั้งหมดใน Table ต้องมีค่าสอดคล้องกับค่าของคอลัมน์ที่เป็น primary key ของ Table ที่สัมพันธ์กัน
Index สามารถกำหนดขึ้นเพื่อใช้ในการเพิ่มความเร็วในการค้นหาข้อมูล การเรียงลำดับข้อมูล แต่ควรสร้างตามความจำเป็น เนื่องจากถ้ามีคอลัมน์ที่เป็น Index มากจะทำให้การทำงานช้าลง
การกำหนด primary key
ตัวอย่าง
CREATE TABLE employee
(employee_id (10),
first varchar(15),
last varchar(20),
age number(3),
address varchar(30),
city varchar(20),
state varchar(20),
CONSTRAINT employee_primary_key PRIMARY KEY (employee_id));
หรือ
CREATE TABLE employee
(employee_id (10)NOT NULL
CONSTRAINT employee_primary_key PRIMARY KEY (employee_id),
first varchar(15),
last varchar(20),
age number(3),
address varchar(30),
city varchar(20),
state varchar(20));
http://www.widebase.net/database/sql/sqlbasic/sqlbasic06.shtml
1. SQL
SQL (ออกเสียงว่า "ess-que-el" หรือ "ซี-เคลว") ย่อมาจาก Structured Query Language เป็นภาษามาตรฐานที่ใช้ในการติดต่อกับฐานข้อมูล คิดค้นโดยนักวิทยาศาสตร์ของ IBM ในทศวรรษ 1970 ในปัจจุบัน ANSI (American National Standard Institute) ได้ประกาศให้ SQL ภาษามาตรฐานสำหรับระบบจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database Management System ย่อเป็น RDBMS) คำสั่งของ SQL ทำงานต่างของฐานข้อมูล เช่น การปรับปรุงข้อมูล การดึงข้อมูลเพื่อแสดงผลที่ต้องการ
2. Relational Database
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database) เป็นโครงสร้างฐานข้อมูลที่สามารถกำหนดความสัมพันธ์ขึ้นเมื่อใดก็ได ้โดยไม่จำเป็นต้องกำหนดไว้ตั้งแต่เริ่มต้นออกแบบฐานข้อมูล และเปลี่ยนโครงสร้างได้ง่าย ฐานข้อมูลเก็บข้อมูลและสารสนเทศในอ๊อบเจค เรียกว่า Table
Table ประกอบด้วย คอลัมน์ (Column) และแถวข้อมูล (Row) โดยคอลัมน์ประกอบด้วย ชื่อคอลัมน์ ประเภทข้อมูล และคุณสมบัติอื่นๆ (เช่น การกำหนดเป็น primary key, ค่าเริ่มต้น) แถวเก็บข้อมูลของคอลัมน์
3. การเลือกข้อมูล
SELECTION statement ใช้ในการสร้างคิวรี่ หรือการสอบถามกับฐานข้อมูล และเลือกดึงข้อมูลที่ตรงกับเกณฑ์ที่กำหนด
ไวยากรณ์
SELECT column1 [, column2…]
FROM tablename
[WHERE condition ];
[ ] ตัวเลือก
4. การสร้าง Table
CREATE TABLE statement ใช้ในการสร้าง Table ขึ้นมาใหม่
ไวยากรณ์1
รูปแบบการสร้าง Table อย่างง่าย
CREATE TABLE tablename
(column1 datatype,
column2 datatype,
column3 datatype, …);
ไวยากรณ์ 2
รูปแบบการสร้าง Table ที่มีข้อกำหนด หรือ constraint
CREATE TABLE tablename
(column1 datatype [constraint],
column2 datatype [constraint],
column3 datatype [constraint],…);
[ ] ตัวเลือก
5. การกำหนด Key
Key เป็นข้อกำหนดคุณสมบัติของคอลัมน์ใน Table ซึ่งทำหน้าที่เป็น index เพื่อเพิ่มความเร็วในการค้นหาข้อมูล และใช้กำหนดความสัมพันธ์ระหว่าง Table
Primary key สร้างจากคอลัมน์ (หรือประกอบด้วยหลายคอลัมน์) ที่มีค่าของคอลัมน์ในทุกแถวข้อมูลมีค่าไม่ซ้ำกัน เป็นการควบคุมค่าที่เก็บในคอลัมน์ และใช้ในการเชื่อมโยงกับ Table อื่น ในแต่ละ Table กำหนด primary key ได้ 1 key
Foreign key เป็นคอลัมน์ใน Table ที่ primary key อยู่ที่ Table อื่น หมายถึงว่า ค่าของคอลัมน์ทั้งหมดใน Table ต้องมีค่าสอดคล้องกับค่าของคอลัมน์ที่เป็น primary key ของ Table ที่สัมพันธ์กัน
Index สามารถกำหนดขึ้นเพื่อใช้ในการเพิ่มความเร็วในการค้นหาข้อมูล การเรียงลำดับข้อมูล แต่ควรสร้างตามความจำเป็น เนื่องจากถ้ามีคอลัมน์ที่เป็น Index มากจะทำให้การทำงานช้าลง
การกำหนด primary key
ตัวอย่าง
CREATE TABLE employee
(employee_id (10),
first varchar(15),
last varchar(20),
age number(3),
address varchar(30),
city varchar(20),
state varchar(20),
CONSTRAINT employee_primary_key PRIMARY KEY (employee_id));
หรือ
CREATE TABLE employee
(employee_id (10)NOT NULL
CONSTRAINT employee_primary_key PRIMARY KEY (employee_id),
first varchar(15),
last varchar(20),
age number(3),
address varchar(30),
city varchar(20),
state varchar(20));
http://www.widebase.net/database/sql/sqlbasic/sqlbasic06.shtml
วันพฤหัสบดีที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2552
ภาษา SQL (Standard Query Language)
ภาษาสำหรับการจัดการข้อมูล (Data Manipulation Language-DML)
หลังจากที่เราสร้างโครงสร้างฐานข้อมูลขึ้นแล้ว คำ สั่งต่อไปในการป้อนข้อมูลลงในฐานข้อมูล
และเปลี่ยนแปลงข้อมูล ในฐานข้อมูล โดยการใช้ภาษาสำ หรับการจัดการข้อมูล (Data Manipulation
Language-DML) ใช้จัดการข้อมูลภายในตารางภายในฐานข้อมูล และภาษาแก้ไขเปลี่ยนแปลงตาราง
แบ่งออกเป็น 4 Statement คือ
• Select Statement : การเรียกหา (Retrieve) ข้อมูลจาก ฐานข้อมูล
• Insert Statement : การเพิ่มเติมข้อมูลลงใน ตาราง (Table) จาก ฐานข้อมูล
• Delete Statement: การลบข้อมูลลงออกจาก ตาราง (Table) จาก ฐานข้อมูล
• Update Statement: การเปลี่ยนแปลงข้อมูลลงใน ตาราง (Table) จาก ฐานข้อมูล
คำสั่ง ความหมาย
SELECT เรียกค้นข้อมูลในตาราง
INSERT เพิ่มแถวข้อมูลลงในตาราง
DELETE ลบแถวข้อมูล
UPDATE ปรับปรุงแถวข้อมูลในตาราง
คำสั่งค้นหาข้อมูล (Query Statement)
คำสั่ง SELECT เป็นคำ สั่งการเรียกดูข้อมูล หรือ ค้นข้อมูล ตามเงื่อนไขที่ระบุบ เนื่องจากคำ สั่ง
SELECT เป็นคำ สั่งที่มีรูปแบบการใช้งานที่ง่ายเพื่อช่วยในการค้นหาข้อมูลที่ซับซ้อน
ดังมีรูปแบบดังนี้
SELECT <ชื่อคอลัมน์ที่ต้องการดูข้อมูล>
FROM <ชื่อตาราง>
WHERE <เงื่อนไขตามที่ระบุบ>
SELECT --- เป็นคำ สั่งให้ทำ การเรียกดูข้อมูลในคอลัมน์ที่ระบุ ซึ่งอาจจะมากกว่า หนึ่งก็ได้ และถ้ามี
มากกว่าหนึ่งคอลัมน์ต้องคั่นด้วย คอมม่า (,) และนอกจากนี้ยังสามารถใช้เครื่องหมาย
ดอกจัน (*) เพื่อแสดงถึงการขอดูข้อมูลทั้งหมดได้อีกด้วย
FROM --- เป็นคำ ส่วนประกอบของคำ สั่งที่บอกถึงตารางที่ต้องการดู ซึ่งอาจจะมีมากกว่าหนึ่งตารางก็
ได้ ที่จะถูกเรียกใช้จากคำ สั่ง SELECT
WHERE--- เป็นส่วนประกอบของคำ ส่ง ที่ใช้บ่งบอกเงื่อนไขที่จะใช้ในการค้นหาข้อมูล ขึ้นมาจากตา
รางใด ๆ ที่อยู่หลัง FROM นี้
http://www.sut.ac.th/ist/coursesonline/204204/Lecture/204204_47_09.pdf
หลังจากที่เราสร้างโครงสร้างฐานข้อมูลขึ้นแล้ว คำ สั่งต่อไปในการป้อนข้อมูลลงในฐานข้อมูล
และเปลี่ยนแปลงข้อมูล ในฐานข้อมูล โดยการใช้ภาษาสำ หรับการจัดการข้อมูล (Data Manipulation
Language-DML) ใช้จัดการข้อมูลภายในตารางภายในฐานข้อมูล และภาษาแก้ไขเปลี่ยนแปลงตาราง
แบ่งออกเป็น 4 Statement คือ
• Select Statement : การเรียกหา (Retrieve) ข้อมูลจาก ฐานข้อมูล
• Insert Statement : การเพิ่มเติมข้อมูลลงใน ตาราง (Table) จาก ฐานข้อมูล
• Delete Statement: การลบข้อมูลลงออกจาก ตาราง (Table) จาก ฐานข้อมูล
• Update Statement: การเปลี่ยนแปลงข้อมูลลงใน ตาราง (Table) จาก ฐานข้อมูล
คำสั่ง ความหมาย
SELECT เรียกค้นข้อมูลในตาราง
INSERT เพิ่มแถวข้อมูลลงในตาราง
DELETE ลบแถวข้อมูล
UPDATE ปรับปรุงแถวข้อมูลในตาราง
คำสั่งค้นหาข้อมูล (Query Statement)
คำสั่ง SELECT เป็นคำ สั่งการเรียกดูข้อมูล หรือ ค้นข้อมูล ตามเงื่อนไขที่ระบุบ เนื่องจากคำ สั่ง
SELECT เป็นคำ สั่งที่มีรูปแบบการใช้งานที่ง่ายเพื่อช่วยในการค้นหาข้อมูลที่ซับซ้อน
ดังมีรูปแบบดังนี้
SELECT <ชื่อคอลัมน์ที่ต้องการดูข้อมูล>
FROM <ชื่อตาราง>
WHERE <เงื่อนไขตามที่ระบุบ>
SELECT --- เป็นคำ สั่งให้ทำ การเรียกดูข้อมูลในคอลัมน์ที่ระบุ ซึ่งอาจจะมากกว่า หนึ่งก็ได้ และถ้ามี
มากกว่าหนึ่งคอลัมน์ต้องคั่นด้วย คอมม่า (,) และนอกจากนี้ยังสามารถใช้เครื่องหมาย
ดอกจัน (*) เพื่อแสดงถึงการขอดูข้อมูลทั้งหมดได้อีกด้วย
FROM --- เป็นคำ ส่วนประกอบของคำ สั่งที่บอกถึงตารางที่ต้องการดู ซึ่งอาจจะมีมากกว่าหนึ่งตารางก็
ได้ ที่จะถูกเรียกใช้จากคำ สั่ง SELECT
WHERE--- เป็นส่วนประกอบของคำ ส่ง ที่ใช้บ่งบอกเงื่อนไขที่จะใช้ในการค้นหาข้อมูล ขึ้นมาจากตา
รางใด ๆ ที่อยู่หลัง FROM นี้
http://www.sut.ac.th/ist/coursesonline/204204/Lecture/204204_47_09.pdf
ภาษา SQL (Standard Query Language)
รูปแบบการใช้คำ สั่ง SQL สามารถใช้ได้เป็น 2 รูปแบบ ดังนี้ คือ
• คำ สั่ง SQL ที่ใช้เรียกดูข้อมูลได้ทันที (Interactive SQL)
เป็นการเรียกใช้คำ สั่ง SQL สั่งงานบนจอภาพ เพื่อเรียกดูข้อมูลในขณะที่ทำ งานได้ทันที เช่น
SELECT CITY
FROM SUPPLIER
WHERE SNO = ‘SE’;
• คำ สั่ง SQL ที่ใช้เขียนร่วมกันโปรแกรมอื่น ๆ (Embedded SQL)
เป็นคำ สั่ง SQL ที่ใช้ร่วมกับคำ สั่งของโปรแกรมภาษาต่าง ๆ เช่น PL/1 PASCAL ฯลฯ หรือแม้
แต่กับคำ สั่งในโปรแกรมที่ระบบจัดการฐานข้อมูลนั้นมีใช้เฉพาะ เช่น ORACLE มี PL/SQL (Procedural
Language /SQL) ที่สามารถเขียนโปรแกรมและนำ คำ สั่ง SQL มาเขียนร่วมด้วย เป็นต้น
ตัวอย่างการใช้คำ สั่ง SQL ในภาษา PL/1
EXEC SQL SELECT CITY
INTO :XCITY
FROM SUPPLIER
WHERE SNO = ‘S4’;
• คำ สั่ง SQL ที่ใช้เรียกดูข้อมูลได้ทันที (Interactive SQL)
เป็นการเรียกใช้คำ สั่ง SQL สั่งงานบนจอภาพ เพื่อเรียกดูข้อมูลในขณะที่ทำ งานได้ทันที เช่น
SELECT CITY
FROM SUPPLIER
WHERE SNO = ‘SE’;
• คำ สั่ง SQL ที่ใช้เขียนร่วมกันโปรแกรมอื่น ๆ (Embedded SQL)
เป็นคำ สั่ง SQL ที่ใช้ร่วมกับคำ สั่งของโปรแกรมภาษาต่าง ๆ เช่น PL/1 PASCAL ฯลฯ หรือแม้
แต่กับคำ สั่งในโปรแกรมที่ระบบจัดการฐานข้อมูลนั้นมีใช้เฉพาะ เช่น ORACLE มี PL/SQL (Procedural
Language /SQL) ที่สามารถเขียนโปรแกรมและนำ คำ สั่ง SQL มาเขียนร่วมด้วย เป็นต้น
ตัวอย่างการใช้คำ สั่ง SQL ในภาษา PL/1
EXEC SQL SELECT CITY
INTO :XCITY
FROM SUPPLIER
WHERE SNO = ‘S4’;
วันพฤหัสบดีที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2552
Normalization
การทำให้เป็นรูปแบบที่เป็น Normalizationเป็นกระบวนการออกแบบฐานข้อมูลที่นำเค้าร่างของรีเลชันมาตรวจสอบและแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับความซ้ำซ้อนกันของข้อมูล (data anomaly) เพื่อให้ได้ตารางที่ง่ายต่อการใช้งานและมีความสมบูรณ์มากขึ้น โดยมีจุดมุ่งหมายที่จะทำให้เกิด “one fact in one place” พยายามเก็บข้อเท็จจริงต่างๆไว้ในที่เดียว ซึ่งผลงานดังกล่าวได้รับการคิดค้นและพัฒนาโดย อี.เอฟ.คอดด์ (E.F.Codd) ประมาณปี ค.ศ. 1968 การนอร์มัลไลท์เซชั่นนั้นสามารถเรียกสั้น ๆ ได้ว่าการทำให้ความซ้ำซ้อนของข้อมูลหมดไปจากตารางต่าง ๆ นั่นเอง
ความซ้ำซ้อนของข้อมูลสามารถแบ่งออกได้ 3 ลักษณะคือ
1. ความผิดปกติจากการเพิ่มข้อมูลลงไป
2. ความผิดปกติจากการลบข้อมูลออกมา
3. ความผิดปกติจาการแก้ไขข้อมูล
ความซ้ำซ้อนของข้อมูลสามารถแบ่งออกได้ 3 ลักษณะคือ
1. ความผิดปกติจากการเพิ่มข้อมูลลงไป
2. ความผิดปกติจากการลบข้อมูลออกมา
3. ความผิดปกติจาการแก้ไขข้อมูล
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)