วันอังคารที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552
วันจันทร์ที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552
วันพุธที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552
HTML
HTML ย่อมาจากคำว่า HyperText Markup Language เป็นภาษาที่ใช้ในการแสดงผลของเอกสารบน website หรือที่เราเรียกกันว่าเว็บเพจ เป็นภาษาที่พัฒนาโดย World Wide Web Consortium (W3C)
HTML เป็นภาษาที่สำคัญมากกับเทคโนโลยีบนเว็บไซต์ ไม่ว่าคุณจะเขียนโปรแกรมบนเว็บไซต์ด้วยภาษาใด ๆ ๆ เช่น PHP, ASP, Perl หรืออื่น ๆ คุณก็ต้องมีความจำเป็นในการแสดงผลข้อมูลออกมายัง Web Browser ด้วยภาษา HTML เป็นหลักใหญ่ หรือให้เรามองว่า HTML คือ Output ในการแสดงผลสู่จอภาพของ Web Browse
รูปแบบการเขียนของภาษา HTML
HTML มีรูปแบบการเขียนในลักษณะ TAG ซึ่ง TAG นี้จะมีทั้ง TAG เปิด และ Tag ปิด โดยที่ TAG จะมีลักษณะ ดังนี้
…………………
คือ TAG เปิด
คือ TAG ปิด
แต่กระนั้นในภาษา HTML ก็ยังมีรูปแบบของ TAG อีกประเภทหนึ่ง คือ TAG เดี่ยว ๆ ที่ไม่จำเป็นต้องมี TAG ปิดเข้าร่วมด้วย
โครงสร้างของ HTML
HTML มีรูปแบบโครงสร้างที่ประกอบอยู่ 2 ส่วน คือ
1. ส่วนของ HEAD สำหรับข้อมูลในส่วนหัวของ HTML เช่น ข้อความบน Title bar เป็นต้น
2. ส่วนของ BODY สำหรับการแสดงผลยังหน้าเอกสาร หรือหน้า Web Browser
โดยทั้ง 2 ส่วนประกอบข้างต้น จะถูกกำกับภายใต้ TAG …..
» HEAD Section
ส่วนของ HEAD ของเอกสาร HTML เป็นส่วนที่เราจะสามารถใส่คำอธิบายเว็บเพจ เช่น Title หรือชื่อเรื่องของเอกสาร, Keyword สำหรับการค้นหา ซึ่งเราจะเขียน TAG ในกลุ่มของ HEAD ไว้ภายใน TAG …… เช่น
.................................................................
.................................................................
-
HTML เป็นภาษาที่สำคัญมากกับเทคโนโลยีบนเว็บไซต์ ไม่ว่าคุณจะเขียนโปรแกรมบนเว็บไซต์ด้วยภาษาใด ๆ ๆ เช่น PHP, ASP, Perl หรืออื่น ๆ คุณก็ต้องมีความจำเป็นในการแสดงผลข้อมูลออกมายัง Web Browser ด้วยภาษา HTML เป็นหลักใหญ่ หรือให้เรามองว่า HTML คือ Output ในการแสดงผลสู่จอภาพของ Web Browse
รูปแบบการเขียนของภาษา HTML
HTML มีรูปแบบการเขียนในลักษณะ TAG ซึ่ง TAG นี้จะมีทั้ง TAG เปิด และ Tag ปิด โดยที่ TAG จะมีลักษณะ ดังนี้
แต่กระนั้นในภาษา HTML ก็ยังมีรูปแบบของ TAG อีกประเภทหนึ่ง คือ TAG เดี่ยว ๆ ที่ไม่จำเป็นต้องมี TAG ปิดเข้าร่วมด้วย
โครงสร้างของ HTML
HTML มีรูปแบบโครงสร้างที่ประกอบอยู่ 2 ส่วน คือ
1. ส่วนของ HEAD สำหรับข้อมูลในส่วนหัวของ HTML เช่น ข้อความบน Title bar เป็นต้น
2. ส่วนของ BODY สำหรับการแสดงผลยังหน้าเอกสาร หรือหน้า Web Browser
โดยทั้ง 2 ส่วนประกอบข้างต้น จะถูกกำกับภายใต้ TAG …..
» HEAD Section
ส่วนของ HEAD ของเอกสาร HTML เป็นส่วนที่เราจะสามารถใส่คำอธิบายเว็บเพจ เช่น Title หรือชื่อเรื่องของเอกสาร, Keyword สำหรับการค้นหา ซึ่งเราจะเขียน TAG ในกลุ่มของ HEAD ไว้ภายใน TAG …… เช่น
.................................................................
.................................................................
-
วันเสาร์ที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552
Analog + Digital
analog
เทคโนโลยี analog เป็นการส่งสัญญาณอิเล็กทรอนิค โดยการรรวมสัญญาณ ของหลายความถี่หรือ ความกว้างคลื่น (amplitude) เพื่อนำคลื่นความถี่ของกระแส electromagnetic การกระจายเสียงและโทรศัพท์ที่ผ่านมาใช้เทคโนโลยี analog
analog ยังมีความหมายว่า การแกว่ง การแปรขบวน หรือการเปลี่ยนแปลงที่ต่อเนื่องของ กระบวนการ ซึ่งมักจะนำเสนอ ในรูปคลื่นแบบ sine เนื่องจากจุดเริ่ม ของคำนี้มาจากการแปลงสัญญาณคลื่นเสียง modem ใช้สำหรับแปลงข้อมูลดิจิตอลจากเครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นสัญญาณแบบ analog เพื่อส่งเข้าสายโทรศัพท์ และแปลงสัญญาณแบบ analog เป็นดิจิตอล สำหรับส่งเข้า เครื่องคอมพิวเตอร์
digital
digital (ดิจิตอล) การเป็นการอธิบายเทคโนโลยีอีเล็คโทรนิคส์ที่ใช้สร้าง เก็บ และประมวลข้อมูลในลักษณะ 2 สถานะ คือ บวก (positive) และไม่บวก (non-positive) บวก (positive) แสดงด้วย เลข 1 และไม่บวก (non-positive) แสดงด้วย เลข 0 ดังนั้น ข้อมูลส่งผ่าน หรือเก็บด้วยเทคโนโลยีดิจิตอล เป็นการแสดงด้วยข้อความของ 0 และ 1 แต่ละค่าของตำแหน่งสถานะเหล่านี้ เป็นการอ้างแบบ binary digital
ก่อนหน้าเทคโนโลยีดิจิตอล การส่งผ่านอีเล็คโทรนิคส์ถูกจำกัดด้วยเทคโนโลยีอะนาล๊อก ซึ่งนำส่งข้อมูลเป็นสัญญาณอีเลคโทรนิคส์ โดยอาศัยการเปลี่ยนแปลงของความถี่ หรือความสูงซึ่งเพิ่มเข้าสู่คลื่นตัวนำที่ให้ความถี่ การส่งผ่านการกระจาย และโทรศัพท์แบบดั้งเดิม ใช้เทคโนโลยีอะนาล็อค เทคโนโลยีดิจิตอล ได้รับการใช้ในตัวกลางการสื่อสารทางกายภาค เช่นการส่งผ่านด้วยดาวเทียม และไฟเบอร์อ๊อปติค โมเด็มใช้ในการแปลงสัญญาณโทรศัพท์ ให้เป็นสารสนเทศดิจิตอล สำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์
http://www.widebase.net/knowledge/itterm/it_term_desc.php?term_id=digital&term_group=D
เทคโนโลยี analog เป็นการส่งสัญญาณอิเล็กทรอนิค โดยการรรวมสัญญาณ ของหลายความถี่หรือ ความกว้างคลื่น (amplitude) เพื่อนำคลื่นความถี่ของกระแส electromagnetic การกระจายเสียงและโทรศัพท์ที่ผ่านมาใช้เทคโนโลยี analog
analog ยังมีความหมายว่า การแกว่ง การแปรขบวน หรือการเปลี่ยนแปลงที่ต่อเนื่องของ กระบวนการ ซึ่งมักจะนำเสนอ ในรูปคลื่นแบบ sine เนื่องจากจุดเริ่ม ของคำนี้มาจากการแปลงสัญญาณคลื่นเสียง modem ใช้สำหรับแปลงข้อมูลดิจิตอลจากเครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นสัญญาณแบบ analog เพื่อส่งเข้าสายโทรศัพท์ และแปลงสัญญาณแบบ analog เป็นดิจิตอล สำหรับส่งเข้า เครื่องคอมพิวเตอร์
digital
digital (ดิจิตอล) การเป็นการอธิบายเทคโนโลยีอีเล็คโทรนิคส์ที่ใช้สร้าง เก็บ และประมวลข้อมูลในลักษณะ 2 สถานะ คือ บวก (positive) และไม่บวก (non-positive) บวก (positive) แสดงด้วย เลข 1 และไม่บวก (non-positive) แสดงด้วย เลข 0 ดังนั้น ข้อมูลส่งผ่าน หรือเก็บด้วยเทคโนโลยีดิจิตอล เป็นการแสดงด้วยข้อความของ 0 และ 1 แต่ละค่าของตำแหน่งสถานะเหล่านี้ เป็นการอ้างแบบ binary digital
ก่อนหน้าเทคโนโลยีดิจิตอล การส่งผ่านอีเล็คโทรนิคส์ถูกจำกัดด้วยเทคโนโลยีอะนาล๊อก ซึ่งนำส่งข้อมูลเป็นสัญญาณอีเลคโทรนิคส์ โดยอาศัยการเปลี่ยนแปลงของความถี่ หรือความสูงซึ่งเพิ่มเข้าสู่คลื่นตัวนำที่ให้ความถี่ การส่งผ่านการกระจาย และโทรศัพท์แบบดั้งเดิม ใช้เทคโนโลยีอะนาล็อค เทคโนโลยีดิจิตอล ได้รับการใช้ในตัวกลางการสื่อสารทางกายภาค เช่นการส่งผ่านด้วยดาวเทียม และไฟเบอร์อ๊อปติค โมเด็มใช้ในการแปลงสัญญาณโทรศัพท์ ให้เป็นสารสนเทศดิจิตอล สำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์
http://www.widebase.net/knowledge/itterm/it_term_desc.php?term_id=digital&term_group=D
GML+ API
กล่าวถึง GML อาจจะยังไม่ค่อยรู้จักกันอย่างแพร่หลายหนัก แต่จริงๆแล้ว GML ถูกใช้และพัฒนามาหลายปีแล้ว โดย GML ใช้เป็นตัวกลางในการแลกเปลี่ยนข้อมูล GIS โดยไม่ขึ้นกับฟอร์แมทเฉพาะของซอฟท์แวร์ GIS เช่น tab,shp,dgn โดยลดการศูนย์เสียเนื่องจากการแปลงข้อมูลไปยังรูปแบบต่างๆได้ ส่วนการแสดงผล GML ก็สามารถแสดงผลข้อมูลได้ด้วยเทคโนโลยีการแสดงผลของ XML เช่น SVG
GML เป็นหนึ่งในมาตรฐานการจัดเก็บข้อมูล GIS ของ ISO และ OGC โดยมีความสามารถครอบคลุมการจัดเก็บข้อมูลต่างๆ เช่น Topology, Time, 3D และ Metadata ซึ่งเชื่อมต่อกับโปรโตคอลในการบริการข้อมูลฟีเจอร์ เช่น Web Feature Service (WFS) แต่การใช้งานปัจจุบันส่วนมากเรามักใช้งานเพียงแค่ในด้านการแสดงผลข้อมูล GIS ประเภท Featrue ผ่านอินเตอร์เน็ต ซึ่งในความเป็นจริงก็มีข้อจำกัดในเรื่องขนาดของเอกสารข้อมูล GML ที่มีขนาดใหญ่ ทำให้ต้องใช้เวลาในการประมวลผลนาน OGC ก็มีการอภิปรายในเรื่องของประสิทธิภาพและข้อจำกัดในเรื่องนี้ จนเมื่อปีที่แล้วก็มีการเพิ่ม KML เข้าไปเป็นอีกหนึ่งรูปแบบของโปรโตคอลประเภท Data encoding เพิ่มใช้ในการแสดงผลและเผยแพร่ข้อมูลผ่านอินเตอร์เน็ต โดย KML เองมีการออกแบบคลาสและฟีเจอร์ในการจัดการเรื่องการแสดงผลไว้อยู่ โดย GML สามารถแปลงให้อยู่ในรูปแบบ KML ได้ผ่าน xslt ซึ่งทำให้สามารถลดรายละเอียดข้อข้อมูลบางส่วนที่ไม่ได้ใช้ในการแสดงผล หรือสามารถทำการ normalization ข้อมูลได้อีกด้วย
จริงๆแล้ว GML เป็นที่นิยมมากและเป็นฟอร์แมทสามัญในหลายประเทศครับ โดยดูได้จากซอฟท์แวร์ GIS รุ่นใหม่ต่างรองรับการแสดงผลข้อมูล GML3 เพื่อตอกย้ำความชัดเจนของการเป็นมาตรฐานสากลของ GML ผมมีหนังสือ GML มาแนะนำ เล่มนี้เป็นงานเขียนของ Ron Lake และ David Burggraf ที่สรุปรายละเอียดและฟีเจอร์ของ GML ได้อย่างชัดเจนและครอบคลุมหลายเรื่องเช่น features, coordinate reference systems และอื่นๆ
http://emap.wordpress.com/2009/01/24/gml-book/
Application Program Interface หรือ API หรือ เอพีไอ คือ วิธีการเฉพาะสำหรับการเรียกใช้ระบบปฏิบัติการหรือแอพพลิเคชั่นอื่นๆ หรือชุดโค้ด คอมพิวเตอร์ซึ่งทำหน้าที่เชื่อมต่อการทำงานระหว่างแอพพลิเคชั่นกับระบบปฏิบัติการ
การที่แอพพลิเคชั่นจะเชื่อมต่อการทำงานกับระบบปฏิบัติการได้นั้น จำเป็นต้องมีเอพีไอเป็นตัวเชื่อม ซึ่งหากไม่มีการเปิดเผยเอพีไอของระบบปฏิบัติการ ออกมาแล้ว เป็นไปไม่ได้เลยที่โปรแกรมเมอร์จะพัฒนาแอพพลิเคชั่นของเขาให้ทำงานเข้ากับระบบปฏิบัติการได้เต็ม 100%
อย่างไรก็ตาม แม้เอพีไอจะเป็นอินเตอร์เฟสชนิดหนึ่ง แต่จะทำหน้าที่เชื่อมต่อการทำงานของโปรแกรม ซึ่งต่างไปจากยูสเซอร์อินเตอร์เฟส (User Interface) ทั้งแบบกราฟิก (Graphical User Interface; GUI) และแบบเดิมที่เป็นบรรทัดคำสั่ง (Command Line) ที่เป็นอินเตอร์เฟสเชื่อมต่อระบบคอมพิวเตอร์กับผู้ใช้
GML เป็นหนึ่งในมาตรฐานการจัดเก็บข้อมูล GIS ของ ISO และ OGC โดยมีความสามารถครอบคลุมการจัดเก็บข้อมูลต่างๆ เช่น Topology, Time, 3D และ Metadata ซึ่งเชื่อมต่อกับโปรโตคอลในการบริการข้อมูลฟีเจอร์ เช่น Web Feature Service (WFS) แต่การใช้งานปัจจุบันส่วนมากเรามักใช้งานเพียงแค่ในด้านการแสดงผลข้อมูล GIS ประเภท Featrue ผ่านอินเตอร์เน็ต ซึ่งในความเป็นจริงก็มีข้อจำกัดในเรื่องขนาดของเอกสารข้อมูล GML ที่มีขนาดใหญ่ ทำให้ต้องใช้เวลาในการประมวลผลนาน OGC ก็มีการอภิปรายในเรื่องของประสิทธิภาพและข้อจำกัดในเรื่องนี้ จนเมื่อปีที่แล้วก็มีการเพิ่ม KML เข้าไปเป็นอีกหนึ่งรูปแบบของโปรโตคอลประเภท Data encoding เพิ่มใช้ในการแสดงผลและเผยแพร่ข้อมูลผ่านอินเตอร์เน็ต โดย KML เองมีการออกแบบคลาสและฟีเจอร์ในการจัดการเรื่องการแสดงผลไว้อยู่ โดย GML สามารถแปลงให้อยู่ในรูปแบบ KML ได้ผ่าน xslt ซึ่งทำให้สามารถลดรายละเอียดข้อข้อมูลบางส่วนที่ไม่ได้ใช้ในการแสดงผล หรือสามารถทำการ normalization ข้อมูลได้อีกด้วย
จริงๆแล้ว GML เป็นที่นิยมมากและเป็นฟอร์แมทสามัญในหลายประเทศครับ โดยดูได้จากซอฟท์แวร์ GIS รุ่นใหม่ต่างรองรับการแสดงผลข้อมูล GML3 เพื่อตอกย้ำความชัดเจนของการเป็นมาตรฐานสากลของ GML ผมมีหนังสือ GML มาแนะนำ เล่มนี้เป็นงานเขียนของ Ron Lake และ David Burggraf ที่สรุปรายละเอียดและฟีเจอร์ของ GML ได้อย่างชัดเจนและครอบคลุมหลายเรื่องเช่น features, coordinate reference systems และอื่นๆ
http://emap.wordpress.com/2009/01/24/gml-book/
Application Program Interface หรือ API หรือ เอพีไอ คือ วิธีการเฉพาะสำหรับการเรียกใช้ระบบปฏิบัติการหรือแอพพลิเคชั่นอื่นๆ หรือชุดโค้ด คอมพิวเตอร์ซึ่งทำหน้าที่เชื่อมต่อการทำงานระหว่างแอพพลิเคชั่นกับระบบปฏิบัติการ
การที่แอพพลิเคชั่นจะเชื่อมต่อการทำงานกับระบบปฏิบัติการได้นั้น จำเป็นต้องมีเอพีไอเป็นตัวเชื่อม ซึ่งหากไม่มีการเปิดเผยเอพีไอของระบบปฏิบัติการ ออกมาแล้ว เป็นไปไม่ได้เลยที่โปรแกรมเมอร์จะพัฒนาแอพพลิเคชั่นของเขาให้ทำงานเข้ากับระบบปฏิบัติการได้เต็ม 100%
อย่างไรก็ตาม แม้เอพีไอจะเป็นอินเตอร์เฟสชนิดหนึ่ง แต่จะทำหน้าที่เชื่อมต่อการทำงานของโปรแกรม ซึ่งต่างไปจากยูสเซอร์อินเตอร์เฟส (User Interface) ทั้งแบบกราฟิก (Graphical User Interface; GUI) และแบบเดิมที่เป็นบรรทัดคำสั่ง (Command Line) ที่เป็นอินเตอร์เฟสเชื่อมต่อระบบคอมพิวเตอร์กับผู้ใช้
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ผ่านเครือข่าย
จากรูปเป็นการแสดงแผนที่บนอินเตอร์เน็ตที่มีรูปแบบน่าสนใจ คือ มีรูปภาพของสถานที่ไห้ผู้ใช้ได้เห็นก่อนไปสถานที่จริง เป็นการนำแผนที่มาประยุกต์ใช้ ให้ทันสมัยเข้ากับปัจจุบันที่ไม่ว่าเราจะเดินทางไปที่ไหนก็สามารถดูเส้นทางได้ไม่ยากและสามารถศึกษาข้อมูลข้องแผนที่และเส้นทางได้ล่วงหน้า ดังนั้นระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ผ่านเครือข่ายจึงเป็นที่น่าสนใจและมีการเพิ่งเติมข้อมูลใหม่ๆได้เรื่อยๆไม่มีที่สิ้นสุด จึงทำให้การทำแผนที่ในปัจจุบันเป็นการทำแผนที่บนอินเตอร์เน็ตที่มีความหลากหลายและน่าสนใจมากขึ้น มีลูกเล่นหลากหลายให้เราได้ติดตาม และสถานที่ใหม่ๆที่เกิดขึ้นมากมาย ให้ศีกษา
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)